เฉลย หม้อหุงข้าวรู้ได้ไงว่าข้าวสุกแล้ว โซเชียลแห่ดูคำตอบถึงกับบอก..นอนตายตาหลับละ

สาระน่ารู้สั้นๆ สาระน่ารู้ทั่วไป สาระน่ารู้ เรื่องใกล้ตัว สาระน่ารู้ เรื่องใกล้ตัว สั้นๆ 108 สาระน่ารู้ บทความสาระน่ารู้ สาระน่ารู้ ภาษาอังกฤษ สาระน่ารู้เกี่ยวกับการเรียน

สาระน่ารู้เรียกว่าเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ทำหลายคนอาจสงสัยกันมาทุกยุคทุกสมัยเลยก็ว่าได้ เกี่ยวกับคำถามที่ว่า หม้อหุงข้าวรู้ได้อย่างไรว่าข้าวสุกแล้ว สาระน่ารู้ ภาษาอังกฤษสาระน่ารู้สั้นๆแถมบางโรงเรียนยังออกเป็นข้อสอบในวิชาวิทยาศาสตร์อีกด้วยล่าสุดสาระน่ารู้สั้นๆ (16 มกราคม 2566) เพจเฟซบุ๊ก Top Comment ได้แชร์คอมเมนต์ บทความสาระน่ารู้ของชาวเน็ตท่านหนึ่งที่ออกมาให้ข้อมูลคลายข้อสาระน่ารู้ทั่วไป สงสัยเกี่ยวกับเรื่องนี้ ระบุว่า หม้อหุงข้าวไม่ได้รู้ว่าข้าวสุก แต่มีปัจจัยนี้ที่ทำให้เมื่อหม้อหุงข้าวสุก ไฟจะเด้งทุกครั้ง

น้ำเดือดที่ 100 องศา ตราบใดที่น้ำยังมีอยู่ น้ำจะดูดความร้อนแล้วคายออกมาเป็นไอน้ำตลอดเวลา ทำให้อุณหภูมิภายในหม้อจะไม่เกิน 100 องศา ตลอดเวลา สาระน่ารู้ เรื่องใกล้ตัว(ค่านี้เปลี่ยนไปตามแรงดันของหม้อแต่ละยี่ห้อ) จนกระทั่งน้ำระเหยหมด อุณหภูมิที่ก้นหม้อจะค่อย ๆ สูงขึ้น ๆ เพราะไม่มีน้ำช่วยดูดความร้อนอีกต่อไป จนตัวตัดไฟทำงานเมื่อถึงอุณหภูมิที่กำหนด สรุปว่า มันไม่รู้ว่าข้าวสุก108 สาระน่ารู้ แต่มันรู้ว่าน้ำหมดจากความร้อนที่สูงขึ้น”

สาระน่ารู้

สาระน่ารู้สั้นๆ

งานนี้ชาวเน็ตเข้ามาคอมเมนต์กันสนั่น ส่วนใหญ่บอกสาระน่ารู้ทั่วไป สงสัยมานาน สาระน่ารู้ เรื่องใกล้ตัว สั้นๆ บางคนถึงกับบอกเกิดมาก็เพิ่งรู้ นอนตายตาหลับแล้ว นอกจากนี้มีคนให้ข้อมูลเพิ่มด้วยว่า หม้อหุงข้าวระบบอนาล็อกจะใช้ความร้อนตัด108 สาระน่ารู้ ส่วนระบบดิจิทัลจะใช้นับเวลาขณะที่มีคนสงสัยหากเป็นอย่างข้อมูลข้างต้น แล้วทำไมถึงมีข้าวแฉะ ซึ่งก็มีคนมาอธิบายว่า ข้าวแฉะเพราะข้าวอมน้ำจนไม่มีน้ำช่วยลดอุณหภูมิ ทำให้หม้อร้อนเลยตัดไฟ สรุปที่ข้าวแฉะ

สาระน่ารู้

สาระน่ารู้ เรื่องใกล้ตัว

น้ำไม่ได้อยู่ที่หม้อแต่อยู่ที่ข้าวอย่างไรก็ตามสาระน่ารู้สั้นๆ จากข้อมูลสาระน่ารู้บทความสาระน่ารู้ เรื่องการอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ให้ข้อมูลเกี่ยวกับกลไกการทำงานของหม้อหุงข้าว ว่า หม้อหุงข้าวมีหลักการทำงานเช่นเดียวกับเครื่องใช้ไฟฟ้าสาระน่ารู้ ภาษาอังกฤษที่ให้ความร้อนอื่น ๆ คือมีขดลวดนิโครมที่จะเกิดความร้อนเมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านความร้อนที่เกิดขึ้นจะส่งต่อมายังแผ่นความร้อนซึ่งอยู่ด้านในก้นหม้อชั้นนอก และส่งต่อไปยังหม้อชั้นในเพื่อทำให้ข้าวสุก

ถ้าเปรียบเทียบให้ชัดเจน คือ ตัวหม้อชั้นนอกทำหน้าที่เป็นเตา หมอชั้นในเป็นหม้อข้าวและแผ่นความร้อนเป็นเชื้อเพลิงหม้อหุงข้าวสาระน่ารู้เกี่ยวกับการเรียนจะตัดสวิตช์ตัวเองโดยอัติโนมัติเมื่อข้าวสุก หรือตัดไปที่สวิตช์การอุ่นข้าว สาระน่ารู้ เรืองใกล้ตัว สั้นๆ ซึ่งการทำงานตรงจุดนี้เป็นกลไกที่อาศัยหลักการทำงานของอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิหรือที่เรียกว่า เทอร์โมสตัท (Thermostat)สาระน่ารู้

ขอบคุณเครดิต esburiram.com

ข่าวแนะนำ

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *