สาระน่ารู้ 10 วิธีป้องกัน “โรคกระดูกพรุน” ทำอย่างไร?

สาระน่ารู้  สาระน่ารู้สั้นๆ  สาระน่ารู้ทั่วไป  สาระน่ารู้เรื่องใกล้ตัว  สาระน่ารู้เรื่องใกล้ตัวสั้นๆ  108สาระน่ารู้  บทความสาระน่ารู้  สาระน่ารู้เกี่ยวกับการเรียน  สาระน่ารู้ภาษาอังกฤษ

 

สาระน่ารู้โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis)” เป็นปัญหาระดับชาติที่นับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นจากจำนวนประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นสาระน่ารู้ภาษาอังกฤษรวมถึงภาวะของโรคผู้ป่วยจะไม่รู้ว่าตัวเองเป็นโรค เนื่องจากไม่พบอาการใดๆ จนกระทั้งล้มแล้วมีกระดูกหัก จึงรู้ว่าเป็นโรคดังกล่าวเข้าแล้วโรงกระดูกพรุน และสาระน่ารู้สั้นๆภาวะกระดูกบาง (Osteopenia) คือ ภาวะที่ร่างกายมีความหนาแน่นของกระดูก (Bone Density) และคุณภาพของกระดูก (Bone quality) ที่ลดลง ส่งผลให้ความแข็งแรงของกระดูกลดลง ทำให้กระดูกหักง่ายขึ้น แม้เกิดอุบัติเหตุเพียงเล็กน้อย นำมาซึ่งภาวะทุพพลภาพทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถกลับไปใช้ชีวิตได้ตามปกติ และอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจนเสียชีวิตได้

สาระน่ารู้

สาระน่ารู้สั้นๆ

โดยสาเหตุหลักๆเกิดจากการสูญเสียมวลกระดูก ทำให้กระดูกเสียคุณสมบัติการรับน้ำหนักสาระน่ารู้ทั่วไปกระดูกเปราะ หักง่าย บางคนอาจตัวเตี้ยลง (มากกว่า 3 เซนติเมตร) เนื่องจากกระดูกสันหลังโปร่งบางและยุบตัวลงช้า ๆ หรือบางคนมีอาการปวดหลังจากการล้มหรือยกของหนัก พบได้บ่อยบริเวณกระดูกสันหลัง สะโพก หรือข้อมือ รวมทั้งยังสามารถเกิดได้กับกระดูกส่วนอื่นๆ ของร่างกายอีกด้วย ทั้งนี้โรคกระดูกพรุนเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดภาวะกระดูกหักหรือกระดูกสันหลังผิดรูปในสตรีสูงอายุ เช็กสาเหตุเกิด “โรคกระดูกพรุน”จากสถิติขององค์การอนามัยโลก (WHO) พบว่าโรคกระดูกพรุนเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขในลำดับที่ 2 ของโลก รองจากโรคหัวใจและโรคหลอดเลือด

สาระน่ารู้

สาระน่ารู้ทั่วไป

โดยสอดคล้องกับข้อมูลของมูลนิธิโรคกระดูกพรุนนานาชาติพบว่าสาระน่ารู้เรื่องใกล้ตัวประชากรไทยที่มีความเสี่ยงเป็นโรคกระดูกพรุน 80 – 90% ยังไม่ได้รับการประเมินและรักษาโรคกระดูกพรุนถือเป็นภัยเงียบที่ไม่มีสัญญาณเตือนเมื่อเกิดร่วมกับกระดูกสะโพกหักจะมีอัตราการเสียชีวิตในปีแรกถึง 17 % และมีสัดส่วน 80% ที่ไม่สามารถกลับมาใช้ชีวิตได้เหมือนเดิมสาเหตุของโรคกระดูกพรุนการสูญเสียฮอร์โมนเพศหญิงเนื่องจากหมดประจำเดือน หรือวัยทอง เป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยของการเกิดโรคกระดูกพรุน โดย 25% ของสตรีที่มีอายุมากกว่า 60 ปีมักพบว่าเป็นโรคกระดูกพรุน

สาระน่ารู้

สาระน่ารู้เรื่องใกล้ตัว

การที่สตรีหมดประจำเดือนเร็วหรือได้รับการผ่าตัดรังไข่ทิ้งก่อนอายุ 45 ปีอายุที่มากขึ้นสาระน่ารู้เรื่องใกล้ตัวสั้นๆโดยเมื่ออายุมากกว่า 50 ปี กระดูกจะบางลงทุก 1-3% ทุกปีนพ.ศรัณย์ จินดาหรา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกระดูกสันหลัง โรงพยาบาลเอส สไปน์ แอนด์ เนิร์ฟ เผยว่า โรคกระดูกพรุนเกิดได้จาก 2 สาเหตุหลักใหญ่ คือ ปริมาณมวลกระดูกที่สะสม (Peak bone mass) ไว้มีน้อยกว่าที่ควรจะเป็น หรือ มีการสลายของกระดูกมากกว่าปกติโดยปกติแล้วมวลกระดูกนั้นจะเพิ่มสูงสุดอยู่ในระหว่างช่วงอายุ 30 – 34 ปี หลังจากนั้นจะมีการสูญเสียของมวลกระดูกอย่างค่อยเป็นค่อยไป ในสตรีเมื่อถึงวัยหมดประจำเดือนจะมีการสูญเสียมวลกระดูกอย่างรวดเร็วในระยะ 5 ปีแรกและลดลงอย่างต่อเนื่อง

สาระน่ารู้

สาระน่ารู้เรื่องใกล้ตัวสั้นๆ

ทั้งนี้ กระดูกของเด็กในวัยนี้จะแข็งแรงหรือไม่ ขึ้นอยู่กับอาหารเป็นสำคัญ108สาระน่ารู้เพราะจะมีผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกายรวมถึงมวลกระดูก โดยเฉพาะปริมาณของแคลเซียมที่รับประทานเข้าไปมีความสำคัญมากต่อมวลกระดูกและการเจริญเติบโตของกระดูกอาการที่พบบ่อยเมื่อเข้าข่ายโรคกระดูกพรุนโรคกระดูกพรุน ได้ชื่อว่าเป็น “มฤตยูเงียบ” เนื่องจากส่วนใหญ่ไม่มีอาการ กว่าจะรู้ว่าเป็นโรคกระดูกพรุนก็ต่อเมื่อกระดูกหักเสียแล้ว ส่วนอาการที่พบได้คือปวดหลัง ซึ่งเกิดจากกระดูกบางมาเป็นเวลานานอาการปวดจะรุนแรงมากขึ้นเมื่อมีกระดูกสันหลังยุบตัวทำให้หลังค่อมและเตี้ยลงได้นอกจากกระดูกสันหลังแล้ว กระดูกอื่น ๆ ที่ถูกทำลายมาก คือ ข้อมือและสะโพก

สาระน่ารู้

108สาระน่ารู้

ปัจจัยเสี่ยงร่วมที่ทำให้เกิดโรคกระดูกพรุนมีประวัติครอบครัวเป็นโรคกระดูกพรุนชาวผิวขาวหรือเชื้อชาติชาวเอเชียขาดวิตามินดีหรือแคลเซียมดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนเป็นประจำสูบบุหรี่น้ำหนักลดลงอย่างรวดเร็วเนื่องจากโหมออกกำลังกายหรืออดอาหารใช้ยาสเตียรอยด์เกินขนาดภาวะฮอร์โมนไม่สมดุลบทความสาระน่ารู้เช่น โรคต่อมไทรอยด์เป็นโรคเรื้อรัง เช่น โรคตับ โรคทางเดินอาหารผิดปกติทั้งนี้ ความเสี่ยงเมื่อกระดูกสะโพกหักจากโรคกระดูกพรุน20%สาระน่ารู้เกี่ยวกับการเรียนมักเสียชีวิตภายใน 1 ปี30% พิการถาวร40% ต้องใช้เครื่องช่วยพยุงในการเดิน80% ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้เหมือนก่อนกระดูกหักกระดูกหักจากภาวะกระดูกพรุน มีอันตรายสูงมากควรป้องกันและรักษาภาวะกระดูกพรุนทันทีเมื่อทราบสาระน่ารู้

 

ขอบคุณเครดิต bangkokbiznews.com

ข่าวแนะนำ

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *